5 ESSENTIAL ELEMENTS FOR ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

5 Essential Elements For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

5 Essential Elements For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

แผนการดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี

ร่วมบริจาค เกี่ยวกับ เกี่ยวกับเรา เราทำอะไร ทีมงาน ติดต่อเรา ค้นหา โครงการ องค์กรเพื่อสังคม อาสาสมัคร ลีดเดอร์บอร์ด บล็อก เริ่มต้นการใช้งาน ค่าบริการ สร้างโครงการ เงื่อนไขการใช้บริการ ความน่าเชื่อถือและความปลอดภัย เงื่อนไขและข้อกำหนด นโยบายความเป็นส่วนตัว

งานวิจัยของชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ และคณะเรื่อง “โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อหลักประกันโอกาสทางการเรียนรู้”  ได้แสดงให้เห็นถึงตัวเลขนักเรียนยากจนที่ สพฐ.

This is probably the four most important cookies set via the Google Analytics assistance which enables Web page owners to trace visitor conduct and measure web-site efficiency. This cookie determines new periods and visits and expires after thirty minutes.

นอกจากนี้ ในปัจจุบันยังมีสาขาแยกย่อยและเฉพาะทางมากมาย จึงทำให้ผู้ที่ไม่ได้เข้าศึกษาในสาขาที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานจำเป็นต้องเรียนรู้งานใหม่เมื่อเข้าไปทำงานในองค์กรต่างๆ ในขณะเดียวกันโครงสร้างของบางองค์กรก็อาจไม่มีทรัพยากรณ์เพียงพอที่จะนำไปใช้ลงทุนกับนักศึกษาที่ขาดประสบการณ์ หรือพนักงานใหม่

ปัจจุบันมีการรณรงค์ให้ตระหนักถึงสิทธิ และเสรีภาพของเยาวชนในประเทศมากยิ่งขึ้น ทำให้สังคมเรียนรู้ว่าเยาวชนทุกคนควรได้รับสิทธิ และเสรีภาพขั้นพื้นฐานในการที่จะได้รับความรู้ ภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ จึงมีการเข้าไปสนับสนุน และดูแลโรงเรียนที่ขาดแคลนให้สามารถเข้าถึงแหล่งการศึกษาที่มีประสิทธิภาพได้ อย่างไรก็ตาม นักเรียนที่ยังคงมีฐานะยากจนก็ยังถูกจำกัดให้มีตัวเลือกเพียงแค่การเข้าถึงสถาบันการศึกษาของรัฐ เนื่องจากสถานศึกษาของเอกชนยังคงมีอัตราค่าเล่าเรียนที่สูง

จากการสำรวจพบว่าในประเทศไทยยังขาดการจัดทำ และเผยแพร่ผลงานวิจัย หรือนวัตกรรม ทำให้ขาดการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในสถาบันการศึกษา และทำให้การพัฒนาของสถาบันทางสังคมอื่นๆ ต้องหยุดชะงัก หรือเกิดการพัฒนาอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาภายในประเทศ และทำให้การพัฒนาระบบการศึกษา ตลอดจนคุณภาพการศึกษาของไทยไม่เท่าเทียมกับนานาประเทศอีกด้วย 

เดินหมากธุรกิจอย่างไรในเกมกระดานโลก

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ มีจํานวนเด็กและเยาวชนที่ยังอยู่ในวัยเรียนการศึกษาภาคบังคับ และมีฐานะยากจนสูงสุด

This Site makes use of cookies to boost your expertise Whilst you navigate by means of the website. Out of these, the cookies which have been categorized as required are saved in ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา your browser as They're important for the Doing the job of primary functionalities of the web site.

อย่างไรก็ดี เกณฑ์การคัดกรองแต่ละแบบล้วนมีความสามารถในการจำแนกความยากจนแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ดังนั้น ทางสพฐ.และโรงเรียนแต่ละแห่งอาจจะต้องทำความเข้าใจ กำหนดเกณฑ์ร่วมกัน เพื่อให้เหมาะสมกับสังคมนักเรียนยากจนในสังกัดของตน รวมถึงให้ความสำคัญกับการช่วยเหลือกลุ่มที่ด้อยโอกาสมากที่สุดก่อน

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย

นอกจากนี้ ยังพบว่าครูจำนวนมากต้องแบกรับภาระหน้าที่ที่หลากหลาย สวนทางกับอัตราค่าจ้างที่ควรจะได้รับ รวมถึงสวัสดิการที่ไม่เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่ชนบท จึงทำให้ผู้คนจำนวนมากไม่เลือกประกอบอาชีพครู ทำให้นักเรียนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ และไม่ได้รับการดูแลอย่างทั่วถึง จากปัญหาข้างต้นก็อาจสะท้อนได้ในอีกแง่มุมหนึ่งว่า ครูเองก็อาจเป็นผลผลิตมาจากความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในอดีตด้วยเช่นกัน

เพราะแต่ละพื้นที่มีบริบทแตกต่างกันและโครงสร้างต้นตอของปัญหาก็ไม่เหมือนกัน การแก้ปัญหา “ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา” จึงต้องแก้ที่พื้นที่

Report this page